ฝากขายบ้านกับนายหน้า วิธีฝากขายบ้านกับบริษัทตัวแทนนายหน้า ขายบ้าน ฝากขายบ้านผ่านนายหน้า ดีไหม รวมถึง วิธีดู สัญญาแต่งตั้งต้วแทนนายหน้าขายบ้าน มาดูๆ รายละเอียดกัน
ฝากขายบ้านกับนายหน้า สอบถามเข้ามาค่อนข้างเยอะอยู่ ว่า ถ้าจะฝากกับ บริษัทหน้าหน้าบ้าน จะดีไหม ขายดีไหม จะรู้ได้ไงว่า บริษัท ไหนดีไมดี สัญญาตัวแทนนายหน้าอสังหา หรือ สัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า ขายบ้านที่ดิน เป็นยังไง น่ากลัวไหม ผูกมัดแค่ไหน เสียเปรียบไหม จะดูยังไง จะทำยังไง?
อยากขายบ้านให้ไวๆกับมืออาชีพ ฝากขายบ้านกับนายหน้า จะดีไหมเข้าใจครับ รวมๆ หลายๆคำถาม เกียวกับ การฝากขายบ้าน กับโบรกเกอร์ ตัวแทนนายหน้า ซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่ง ที่ยุคนี้ นิยมกันมากขึ้น ไม่เหมือนกับ สัก 20 ปีก่อนในรุ่นบุกเบิก
การขายบ้าน มีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการติดป้าย ขายบ้านเอง ลงโฆษณา ลงเว็บไซต์ ลงสื่อต่างๆถ้าเป็นยุคก่อน ย้อนหลังสัก5ปีขึ้นไป ก็จะเป็นหนังสือวัฎจักร วัฎสาร บ้านพร้อมอยุ่ และที่จะกล่าวถึงในที่นี้ คือ วิธี การ ฝากขายบ้านกับตัวแทนนายหน้า หรือ โปรกเกอร์ขายบ้าน ขายที่ดิน อสังหา สำหรับท่านที่ไม่อยากขายเอง ไม่ว่าด้วยเหตุผลใดๆก็แล้วแต่ ลองศึกษาดูก่อน ได้ครับ
หลักๆของ สัญญานายหน้า หรือ สัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า ที่เกรงกันคือไม่อยากผูกมัด ไม่อยากมีปัญหา ไม่อยากเสียเปรียบ แน่นอน นี้เป้นสัญญาสองฝาย ควรเป็นสัญญา ต่างตอบแทน ที่ให้ให้ประโยชทั้งสองฝ่าย ไม่ควรมีใครได้เปรียบเสียเปรียบกัน ถึงจะชอบธรรม
สัญญานายหน้าและตัวแทน ข้อที่เป้นปัญหาในเรื่อง สัญญาตัวแทน คือ สัญญาเป็นผู้แทนเพียงรายเดียว ไม่ว่าผู้จะซื้อจะมาจากไหน ก็จะต้องเสียค่านายหน้า เหตุผลของตัวแทนนายหน้า ก็คือ บริษัทและตัวแทน ก็มีค่าใช้จ่ายแรงและเวลา ถ้าทำไปแล้ว เจ้าของบอกว่าลูกค้าติดต่อผ่านเจ้าของเอง ไม่จำเป้นต้องจ่ายค่าหน้าหน้า นายหน้าก็เสียแรง เสียค่าใช้จ่ายเปล่า เพราะบางทีก้เป็นเรื่องที่พิสูจน์ได้ยาก เมื่อทำการตลาดไปแล้ว ลูกค้าอาจจะหลุดไปจาก ส่วนการทำตลาดของนายหน้าก็เป็นได้ ส่วนเหตุผลของเจ้าของบ้าน คือ ไม่อยากผูกมัด ไม่อยากเสียโอกาส เพราะก็ทำโฆษณา บอกเพื่อน บอกฝูงบอกญาติไปด้วย และก็ได้ โพสขายบ้าน ไปในเว็บไชต์ เฟสบุ๊ค ไปเองบ้างแล้ว ถ้าการขายมาจากฝ่ายของผู้ขาย ทำไมต้องเสียค่านายหน้าด้วยล่ะ ต่างฝ่ายต่างมีเหตุผล วิธีการคือ ต้องชั่งดูครับว่า โอกาสจะมาจากไหน มากกว่ากัน ถ้าผู้ขายเจ้าของทรัพย์ คิดว่า ทำตลาดเองได้ ก็ควรทำเอง ไม่จำเป้นต้องฝากขายครับ หรือ จะขอสัญญาเป็นแบบเปิด(ไม่ผูกมัด) ก็ลองดู นะครับ เผื่อ นายหน้าจะยอม
จะขอแชร์ ประสบการณ์ ให้เพื่อนๆ ผู้สนใจ เอาไว้เป็นมุมมอง บางส่วน ให้ พิจารณา เพื่อให้ง่าย ขอแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ บริษัทรับฝากขายบ้าน พนักงานขายบ้าน และ ตัวสัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า เอาทีละข้อและกัน
1.จะดูยังไงครับ สำหรับบริษัทรับฝากขายบ้าน ก็ต้อง เช็คโปรไฟล์บริษัท ถามเพื่อนๆ ญาติมิตร คนที่เคยทำ หาคนแนะนำ หรือไม่ก็ลองค้นหา ข้อมูล ใน google และ Facebook ใช้ชื่อ บริษัท ค้นหา ดู ทั้งใน google และ FB และ social อิ่นๆ มีใครพูดถึง ดีไม่ดี อย่างไร เดียวนี้ Social ไวมาก ไม่สามารถปกปิด ได้ โดยเฉพาะ เรื่องไม่ดีนะแระ ลองเข้าดู profile บริษัทดุนะครับ ก็จะได้ ข้อมุล ประมาณนึง พอได้ข้อมุล แล้ว ก็โทร สอบถาม หรือ FB inbox สอบถาม เงื่อนไข การทำงานของบริษัท การลงป้าย การลงโฆษณา ดูประกอบกัน หลายๆ บริษัท เปรียบเทียบกัน ดู แนะนำ อย่างน้อย 3 บริษัท เพื่อหาข้อมูล นะครับ
2 ตัวแทน จริงๆแล้ว แม้จะได้ บริษัท ที่ดี มีมาตรฐาน มีระบบที่ดี มีความซื่อสัตย้ ชัดเจนตรงไปตรงมา มีงบลงโฆษณาในสื่อต่างๆ ตามสมตวร
แต่ถ้า ได้ตัวแทนนายหน้า พนะกงานที่เป้นคนดูแลเรา ไม่เก่ง ไม่ภึง ไม่ขยัน ก็ภือ ว่าโอกาสการขายเราก็น้อย เช่นกัน ทำยังไงละ ต้องบอกเลย ก็สัมภาษณ์ๆ สอบถาม เช้ค ขอมุล การตอบปัญหา ไหวพริบ ปฎิภาน ประสบการณ์ เบื้องต้นดู ครับ ถ้าพนักงาน ขาย ขาดประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ เราสามารถเลือกคน เลือกบริษัทได้ ครับ เยอะแยะ มากมาย ไม่ถูกใจ อาจลองเปลี่ยน คน เปลี่ยน บริษัทได้..
3. สัญญาตัวแทน ผมเอาสัญญา ตัวแทน นายหน้า มาให้ดู สัญญาตัวแทนนายหน้า หลักๆ มี อยู่ สองแบบ คือ ทั่วไป คือ exclusive ฟังดูดี แต่จะเรียกตรง แบบสัญญาผูกมัดเจ้าเดียว จะง่าย กว่า และ อีก แบบ คือ แบบ Open (แบบเปิด หรือ ไม่ผูกมัดเฉพาะราย) บริษัท ตัวแทนนายหน้า จะชอบแแบผูกมัด เฉพาะราย เพราะ ว่า ไม่ว่า ลูกค้าจะมาจากไหน ลูกค้าก็จะต้องจ่าย ค่านายหน้า ตามสัญญา ในอีกมุมนึง เหตุผล ก็คือ เมื่อนายหน้า ลงทุน ลงแรง ลงป้าย ลงสื่อ ทั้งหลาย ก็ตวร จะได้รับ เต็มที่ ป้องกัน ว่าพอทำสื่อโฆษณาไปสักพัก ลูกค้าผูฝากขาย ว่าบอกว่า มีลูกค้าของตนเอง มาขอซื้อ (บางทีก็พิสูจน์ยากว่าลูกค้ามากจากไหน) ทำให้ บริษัท ส่วนใหญ่ ไม่อยากรับทำ
แบบที่สอง หรือ ที่เรียก ว่า Open หรือ แบบ เปิด เพราะยากจะควบคุม แต่บางกรณี ที่เป็นสินค้าดี หรือ คิดว่า จะควบคุมได้ ก็ยอมทำ แบบเปฺิด
คือ จะจ่ายเฉพาะ ลูกค้า ที่พิสูจน์ได้ ว่า มาจาก การแนะนำ ของ ตัวแทนนายหน้าเท่านั้น
ผมจะเอา ทั้งสองแบบ มาฮธิบาย เป็น ข้อๆ คร่าวนะครับ เผื่อเป็น ไอเดีย ในการ ทำสัญญาตัวแทนนายหน้า หรือ ต่อรอง เพิมเติม ตัดออก แก้ไข
3.1 สัญญาตัวแทนแบบExclsive แบบปิด เค้าเรียกกัน ง่ายๆ ว่า แบบ EX เป็นแบบ ทีนิยมใช้ทั่วไป โดยเฉพาะ ฝ่าย ตัวหแทนนายหน้า
มาดูรายละเอียดกัน
สัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้าอสังหาริมทรัพย์
ทำที่ ……………………………….
วันที่ ……………………………….
สัญญานี้ทาขึ้นระหว่าง………………………………….อายุ………………..ปี
อยู่เลขที่ ………………………………………………… …………………….โทรศัพท์ ……………………………….
ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ผู้จะขาย” ฝ่ายหนึ่ง กับ …… บริษัทตัวแทยยายหน้า เลขที่………………………………..
กรุงเทพมหานคร โดย ……………………… กรรมการผู้มีอานาจลงนาม ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ตัวแทน” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายตกลงกันดังนี้
ข้อ 1. ผู้จะขายเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิที่จะขายและประสงค์จะขาย……………………………….. โครงการ……………………………………………. เลขที่ ………………
เนื้อที่ ……………………….. เอกสารสิทธิ์ / โฉนดเลขที่…………………………….เลขที่ดิน……………………….. หน้าสารวจ …………………………. ตาบล ………………………………….
อาเภอ…………………….จังหวัด………………………………… ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “ทรัพย์สิน” ผู้จะขายประสงค์จะขายทรัพย์สิน
ดังกล่าวพร้อมอุปกรณ์ส่วนควบและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในราคารวม……………………………………………………..บาท(…………………………………………………………………………………………………………..)
โดยผู้จะขายเป็นผู้ชาระภาษีเงินได้และภาษีธุรกิจเฉพาะ(ถ้ามี)ทั้งหมด และผู้จะขายชาระค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์และอากร
ฝ่ายละครึ่งกับผู้จะซื้อ โดยในวันทาสัญญานี้ผู้จะขายได้ส่งมอบ สาเนาโฉนด/เอกสารสิทธิ์ สาเนาบัตรประชาชน สาเนาทะเบียนบ้าน อื่น ๆ……………………………………… ไว้ให้แก่ตัวแทน
ข้อ 2. ผู้จะขายแต่งตั้งให้ตัวแทนเป็นผู้ติดต่อและจัดหาผู้จะซื้อ ผู้จะขายตกลงชาระค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทนในอัตราร้อยละ 3 (สาม)
ของราคาทรัพย์สินที่ขายได้
ข้อ 3. สัญญาฉบับนี้มีกาหนดเวลา …………………นับแต่วันทาสัญญา และผู้จะขายตกลงยินยอมให้บุคคลหรือนิติบุคคลที่ตัวแทน
มอบหมายกระทาการแทนตัวแทนเพื่อจัดหาผู้ซื้อทรัพย์สินดังกล่าวโดยยินยอมให้ทาการโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์
เผยแพร่ข่าวสาร ทาการตลาด ติดป้ายหรือขายตรงและอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
โดยที่ตัวแทนเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าวข้างต้น
ข้อ 4. ในวันที่ทาสัญญาฉบับนี้ผู้จะขายไม่มีภาระผูกพันต่อสัญญาแต่งตั้งตัวแทนขายแต่เพียงผู้เดียวกับบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น
โดยในระหว่างที่สัญญานี้ยังไม่ครบกาหนด ผู้จะขายจะไม่บอกเลิกสัญญานี้ไม่ว่าด้วยกรณีใด ๆ
และหากมีบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นติดต่อซื้อทรัพย์สินดังกล่าวในข้อ
1. ผู้จะขายตกลงมอบหมายให้ตัวแทนเป็นผู้ดาเนินการซื้อขายจนเสร็จสิ้น และตกลงชาระค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทนตามข้อ 2.
ข้อ 5. หากผู้จะซื้อเสนอซื้อในราคาไม่ต่ากว่าราคาที่ผู้จะขายระบุไว้ในสัญญาแต่งตั้งตัวแทนฉบับนี้
หรือราคาที่ปรับลดลงในภายหลัง แต่ผู้จะขายปฏิเสธการขายในระหว่างสัญญา
หรือผู้จะขายได้เข้าทาสัญญาจะซื้อจะขายกับผู้จะซื้อแล้วแต่ไม่สามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้
จากเหตุผิดสัญญาของผู้จะขาย ผู้จะขายยินยอมให้ถือว่าตัวแทนได้ทาหน้าที่จัดหาผู้ซื้อตามสัญญานี้แล้ว
และยินยอมชาระค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทนตามที่ระบุไว้ในสัญญานี้ทุกประการ
ข้อ 6. ผู้จะขายตกลงให้ตัวแทนมีสิทธิรับเงินประกันหรือเงินมัดจาการปฏิบัติตามสัญญาจากผู้เสนอซื้อ
เมื่อผู้จะขายได้ตกลงตอบรับคาเสนอซื้อแล้ว เงินดังกล่าวให้ถือเป็นเงินค่ามัดจาส่วนหนึ่ง
หากต่อมาผู้เสนอซื้อไม่ปฏิบัติตามสัญญาในคาเสนอซื้อหรือสัญญาจะซื้อจะขาย
ผู้จะขายมีสิทธิริบเงินประกันหรือเงินมัดจาการปฏิบัติตามสัญญา
โดยผู้จะขายจะแบ่งเงินที่ริบได้ให้ตัวแทนครึ่งหนึ่ง แต่ไม่เกินค่าบาเหน็จตามข้อ 2.
ข้อ 7 ในกรณีที่ผู้จะขายแลกเปลี่ยนทรัพย์สินกับบุคคลที่ตัวแทนติดต่อหรือแนะนาให้ซื้อทรัพย์สิน
ผู้จะขายยินยอมให้ถือว่าตัวแทนได้ทาหน้าที่จัดหาผู้ซื้อตามสัญญานี้แล้ว
ผู้จะขายต้องชาระค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทนตามราคาทรัพย์สินและอัตราค่าบาเหน็จที่ระบุไว้ในสัญญานี้
ข้อ 8. ก่อนวันทาสัญญาฉบับนี้ ผู้จะขายได้มีการติดต่อกับผู้ประสงค์จะซื้อ ดังนี้………………………………………………………………………………………………………
หากบุคคลดังกล่าวซื้อทรัพย์สินจากผู้จะขายภายใน____ วันนับจากวันทาสัญญานี้โดยปราศจากการชักชวนจากตัวแทน
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากตัวแทน ผู้จะขายไม่ต้องจ่ายค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทน
ข้อ 9. เมื่อสัญญาแต่งตั้งตัวแทนฉบับนี้ได้สิ้นสุด หากฝ่ายผู้จะขายหรือฝ่ายตัวแทนยังขายทรัพย์สินตามสัญญานี้ไม่ได้ ฝ่ายผู้จะขายไม่จำต้องเสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด แต่ว่าหากต่อมาในภายหลัง ปรากฏว่าผู้จะขายได้ขายหรือแลกเปลี่ยนทรัพย์สิน ตามข้อสัญญา1. ให้แก่บุคคลใดที่ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล หรือผู้ที่ได้รับการชี้ช่องจาก ที่ตัวแทนเคยเป็นผู้ติดต่อให้ หรือ แนะนาให้ ซื้อทรัพย์สินนี้ตามการชี้ช่อง ถือว่าตัวแทนได้ทำาหน้าที่ชี้ช่อง จัดหาผู้ซื้อทรัพย์สินของ ผู้จะขายตามสัญญานี้แล้ว ผู้จะขายตกลงยินยอมจ่ายค่าบาเหน็จให้แก่ตัวแทนตามข้อ 2.
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สัญญาฉบับนี้ ทาขึ้นเป็น 2 ฉบับ ถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้อ่านและเข้าใจโดยตลอดแล้ว เห็นว่าตรงตามเจตนา จึงร่วมลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยาน โดยผู้จะขายเก็บไว้ 1 ฉบับ ตัวแทนเก็บไว้ 1 ฉบับ
ลงชื่อ ……………………………………………………. ผู้จะขาย ลงชื่อ ……………………………………………………….. ตัวแทน
(……………………………………………………) (…………………………………………………………)
ลงชื่อ ……………………………………………………. พยาน ลงชื่อ ………………………………………………………….. พยาน
(…………………………………………………….) (………………………………………………………….)
1.แน่นอน ครับ ทั้งสองฝ่าย ต้องเป็น บุคคล ที่บบรลุ นิคิ ภาวั ไม่เป็นคนไร้ความ สามารถ เสมือน ไร้ ความาสมารถ ไม่มีข้อห้าม ตามกฎหมาย
ฝ่าย เจ้าของ ก็ต้องเป็นผู้มีกรรมสิทธิ ที่แท้จริง ตามกฎหมาย ทั้งสองฝ่าย ก้ควร ใช้ สำหรับบัตร ประชาชน แลก กัน ไว้ คนละชุด เซนรับรอง ถูกต้อง โดยเฉพาะ
ฝ่ายเจ้าของอสังหาริมทรัพยื ก็ควรมอบ หลักฐานเป้นสำเนา โฉนด และ กรอกรายละเอียดำว้ ในวัญญา อ้างอิง ถึงกันไว้ เพื่อประโยชนืใ นการทำการขาย เช็คราคา แม้กระทั่งทำเรื่องกู
2.ค่านายหน้า แน่นอนต้องระบุ ไว้ ส่วนใหญ่ จะเป็น 3 % ,มากน้อยกว่านี้ก็ต่อรองกันได้ ปัจจุบั นนายหน้ามักจะมี เทคนิค พิเศษ ที่เรียกว่า เป้น
การอัดฉีด ถ้าขาย ภายใน 3 เดือน ขอเป้น 4-5 % อันนี้แล้วแต่ ตกลงครับ
3.กำหนดเวลา ส่วนใหญ่จะ 1 ปี ครับ ไม่มาก ไม่น้อย 1 ปี จะ มากหรือ น้อย กว้านี้ก็กตลง แก้ไข กันได้
4.อันนี้ เป็นหัวใจ ของสัญญา แบบปิด หรือ ex คือ จะ ระบุบังคับ เลย ว่า ไม่า ผู้ซื้ จะมาจากไหน ก็ต้องจ่า ยค่า นายหน้า แต่ ถ้า ผู้ขาย บอกว่า ติด่อไว้แล้ว ก็สามารถ ระบุชื่อไว้เลย ครับ
ว่า ถ้าผู้ซืคนนี้ มาซื้อ ไม่ต้องจ่าย ค่านายหน้า ย่อมทำได้ครับ
5.ข้อนี้ เป้นการ ป้องกัน ผู้ขายเปลี่ยนใขจ เพราะเมื่อทำการขาย และ หาผู้ซื้อ ขายได้ราคา แล้ว กลับ ไม่ขาย อันนี้ก็เข้าใจได้ นะครับ
ถ้าไม่ขายก้ต้อง มีค่าใช้จ่ายให้ตัวแทนนานห้น้าในการมำงาน
6.อันนี้ก็เนการชำระ ค่าตัวแทนนายหน้า บางส่วน เมื่อได้รับมัดจำ และ ในกรณี ที่มีการริบมัดจำ
7.การเแลกเปลียนทรัพย์สิน ก็ตีความเสมือนนึงการซื้อขาย
8.กรณีที่ ผู้จะขาย ทรัพย์สิน ได้มีผู้ติดต่อไว้แล้ว ผู้จะซื้อ ไว้แล้ว ก็สมารถ ระบุ ชื่อไวได้ หากมีการซื้อจริง ภายในเวลาที่กไหนด การไม่จำเป้นต้องชำระ
ค่านายหน้า
9.อธิบายเพิ่มเติม ในกรณี ที่หมด สัญญา แล้ว แต่ยังมีผลต่อเนื่อง การขายถ้า เกิดจจกการแนะนำ ของตัวแทน ก็ถือว่า เป็นผลงานของนายหน้า ผู้จะขาย หรือ เจ้าของทรัพย์ ก็ต้องจ่าย ค่านายหน้าเช่นเดิม
3.2 สัญญาอีกแบบหนึ่ง คือ แบบสัญญา เปิด Open แบบไม่ผูกมัด ลูกค้ามาจากไหน ก็เป้นของคนๆนั้น หลักๆ ก็คือ ไม่จำเป้นต้องผูกมัดแบบ สัญญา Ex ซึ่งจะจ่ายค่านายหน้าก็ต่อเมือ พิสุจน์ได้ว่า บริษัทเป้นผู้นำมา เท่านั้นน แนน่นอน ครับ บริษัท นายหน้า ส่วนใหยญไม่ชอบแน่ แต่ ๔าสินค้าดี ราคาไม่แพง ขายง่าย ขายไว สัญญาแบบบี้ จะเป็นประโยชนืต่อผู้จะขาย ซึ่งแน่นอน บริษัทตัวแทนนายหน้า บางบริษัท จะไม่รับทำ แต่ก็ไม่แน่ครับ บางบริษัท อาจยอมทำ ลองต่อรองกับ บริษัทดู ครับ ว่า ยอมจะยอมทำศัญญา แบบ Open หรือไม่ บางบริษัทตัวแทน ถ้าเค่ามั่นใจว่าจะหา และ ควบคุม ลูกค้าเองได้ อาจะยอม
แต่ถ้าไม่ยอม ก็ทำตลาดเองไปครับ ไม่มีใครว่่าแน่ๆๆ (ชีวิตเป้นของเราอิๆ) มาดูรายละเอียดกัน
สัญญาแต่งตั้งนายหน้าขายอสังหาริมทรัพย์
ทาที่………………………………………………………………..
วันที่……………เดือน…………….พ.ศ. …………………….
สัญญาฉบับนี้ทาขึ้นระหว่าง………………………………………………………………………………………………………………อายุ………………ปี
อยู่เลขที่…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญานี้เรียกว่า “ผู้จะขาย” ฝ่ายหนึ่งกับ……………………………………………………………………………. เป็นผู้มีอานาจลงนามในสัญญาและรับผิด
ชอบสัญญาฉบับนี้ในนามตนเอง ซึ่งต่อไปในสัญญา เรียกว่า “นายหน้า” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายตกลงกันดังนี้
ข้อ 1. ผู้จะขายในฐานะผู้มีกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิที่จะขายและประสงค์จะขาย………………………………………………………………….
โครงการ……………………………………เลขที่………………..เนื้อที่………………..เอกสารสิทธิ์ / โฉนดเลขที่……………. เลขที่ดิน……………………หน้าสารวจ………………………ตาบล………………………อาเภอ…………………….จังหวัด………………..ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ทรัพย์สิน”
ผู้จะขายประสงค์จะขายทรัพย์สินในราคารวม…………………………บาท
………………..เอกสารสิทธิ์ / โฉนดเลขที่……………. เลขที่ดิน……………………หน้าสารวจ………………………ตาบล………………………อาเภอ…………………….จังหวัด………………..ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ทรัพย์สิน”
ผู้จะขายประสงค์จะขายทรัพย์สินดังกล่าวพร้อมอุปกรณ์ส่วนควบและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในราคารวม…………………………บาท (………………………………………………………) ค่าภาษี ค่าอากรหรือธุรกิจเฉพาะ(ถ้ามี) และค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอน ผู้จะขายเป็นฝ่ายชาระ โดยในวันทาสัญญานี้ผู้จะขายได้ส่งมอบ สาเนาโฉนด / เอกสารสิทธิ์ สาเนาบัตรประชาชน
สาเนาทะเบียนบ้าน อื่น…………………………………………………………………………………………ไว้แก่นายหน้า
ข้อ 2. ผู้จะขายตกลงยินยอมให้นายหน้าจัดหาผู้ซื้อทรัพย์สินดังกล่าว โดยยินยอมให้ทาการโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เผยแพร่ข่าวสาร ทาการตลาด ติดป้ายหรือขายตรงและอื่นๆ ตามความเหมาะสม โดยที่นายหน้าเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าวข้างต้น
ข้อ 3. ผู้จะขายไม่ต้องชาระค่าบาเหน็จให้แก่นายหน้าแต่อย่างใด หากผู้จะซื้อทรัพย์สินมิได้มาจากการชักชวนของนายหน้าหรือมิได้รับการชี้ช่อง จากบุคคลที่นายหน้าเคยติดต่อเกี่ยวข้องหรือแนะนาให้ซื้อทรัพย์สินนี้
ข้อ 4. ผู้จะขายแต่งตั้งให้นายหน้าเป็นผู้ติดต่อและจัดหาผู้จะซื้อ โดยผู้จะขายจะชาระค่าบาเหน็จให้แก่นายหน้าในอัตราร้อยละ 3 ( สาม ) ของราคาทรัพย์สินที่ขายได้ โดยเมื่อผู้จะขายได้รับเงินมัดจาตามสัญญาจะซื้อจะขาย ผู้จะขายตกลงจะชาระค่าบาเหน็จให้กับนายหน้าในทันที แต่ไม่เกินครึ่งหนึ่งของเงินมัดจา ส่วนที่เหลือผู้จะขายจะชาระให้เสร็จสิ้นภายในวันจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ โดยเป็นเงินสด หรือแคชเชียร์เช็คสั่งจ่ายในนามบุคคล ที่เป็นนายหน้าลงนามในสัญญาฉบับนี้
ข้อ 5. หากผู้จะขายได้เข้าทาสัญญา “ จะซื้อจะขาย ” กับผู้จะซื้อแล้วตามราคาที่ได้ตกลงกัน แต่ผู้จะขายไม่สามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้ อันเป็นเหตุจากการผิดสัญญาของผู้จะขาย ดังนั้นให้ถือว่านายหน้าได้ทาหน้าที่จัดหาผู้ซื้อตามสัญญานี้สาเร็จแล้ว ผู้จะขายต้องยินยอมชาระค่าบาเหน็จให้แก่นายหน้าตามที่ระบุไว้ในสัญญาตามข้อ 5 นี้ทุกประการ
ข้อ 6. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สัญญานี้ ทาขึ้นเป็น 2 ฉบับ ถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายได้อ่านและเข้าใจโดยตลอดแล้วเห็นว่าตรงตามเจตนา จึงร่วมลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานต่างฝ่ายถือไว้ฝ่ายละฉบับ
ลงชื่อ………………………………………………………ผู้จะขาย ลงชื่อ………………………………………………………นายหน้า
(……………………………………………………..) (……………………………………………………..)
ลงชื่อ………………………………………………………พยาน ลงชื่อ………………………………………………………พยาน
(……………………………………………………..) (……………………………………………………..)
ข้อ1-2 จะดมือนแแบแรก
ข้อ 3 อันหนี้ เป็น ข้อหลัก ครับ คือ ระบุไว้ชัดเจนครับ ว่า ผู้ซื้อ ต้องมาจากการ ชักชวน แนะนำ จา นายหน้าเท่านั้น ถึงจะต้องจ่ายค่านายหน้า
ที่เหลือ ก็จะคล้ายๆกัน
ข้อที่เหลือ ก็เป็นเรื่อง ที่สำคัญไม่น้อยกว่า 3 ข้อรก คือ ตัวเรานีแหละ ที่เราจะต้องคอย ติดตาม สอบถาม ตัวแทนนายหน้า เราเป็นระยะ ตามความ เหมาะสม เช่น เป็นไงบ้าง มีคนสนใจเยอะไหม
สถานการื เป็นไง ถเามันเงียบๆ ไป ก็ตรองดู อีกที ว่า เกิดจากอะไร ปรับปบรุงแก้ไขกัน
3.1 หลัก ที่กลัวกัน คือ ไม่อยากผูกมัด ไม่อยากมีปัญหา ไม่อยากเสียเปรียบ แน่นอน สัญญาสองฝาาย ควรเป็นสัญญา ต่างตอบแทน ให้ประโยชทั้งสอง ฝ่าย
ข้อที่เป้นปัญหา ในเรื่อง สัญญา ตัวแทน คือ สัญญาเป้นผู้แทนเพียงรายเดียว ไม่ว่าจะมาจากไหน ก็จะต้องเสียค่านาย หน้า เหตผลของตัวแทน นายหนเา
ก็คือ บริษัทและตัวแทน ก็มีค่าใช้จ่าย แรง และเวลา ส่วนของเจ้าของบ้าน คือ ไม่อยากผูกมัด ไม่อยากเสียโอกาส เพราะก็ทำโฆษณา บอกเพื่อ บอกฝูงบอกญาติไปด้วย
ถ้าขายจาฝ่ายเรา ทำไมต้องเสียด้วย วิธี การคือ ต้องชั่งดูว่า โอาสจะมาจาไหน หรือ ลองต่อรองกับ บริษัทดู ครับ ว่า ยอมจะยอมทำศัญญา แบบ Open
หรือไม่ บางบริษัทบสงตัวแทน ถ้าเค่ามั่นใจว่าจะหา และ ควบคุม ลูกค้าเองได้ อาาจะยอม แต่ถ้า ไม่เช่นนั้น ก็ทำตลาดเองไปครับ ไม่มีใครว่่าแน่ๆๆ (ชีวิตเป้นของเราอิๆ)
3.2 เวลา ส่วนใหญ่อีกนะแระ ตัวแทนนายหน้า ก้จะขอเวลา ประมาฯ 1 ปี เป็นหลัก เพราะ กว่าจะทำโฆษณา ลงสื่อ กว่าจะติดตลาด
ส่วน เจ้าของบ้าน ก็ไม่แน่ใจ ว่า ถ้าเจ้า บริษัท หรือ ตัวแทน ทำงาน ไม่เอวร์ ก็จะเสียโอกาส อีก แนะนำ ครับ ลองต่อรอง เป้น สัก6เดือน ครับ
หลายๆบริษัท อาจจะยอม ถ้าเห้นว่า ทรัะย์ เป้นไปได้…
3.3 ส่วนเงื่อนไข อืา สามารถ เขียนระบุ ไปได้ เช่น กำลังติดต่อกับคนนี้ ไว้แล้ว ระบุชื่อเลย ถ้า คนนๆนี้มา ซื้อ ไม่ต้องจ่าย อันี ยุติธรรมดี ครับ
ข้อที่เหลือ ก็เป็นเรื่อง ที่สำคัญไม่น้อยกว่า 3 ข้อรก คือ ตัวเรานีแหละ ที่เราจะต้องคอย ติดตาม สอบถาม ตัวแทนนายหน้า เราเป็นระยะ ครั้งแรกๆ เมื่อ เซนตืสัญญา อาจขอให้ตัวแทนนายหน้า ติดบ้าน ให้ไวๆ เยอะๆ ถ่ายรูปมาให้ดูด้วย (ส่วนใหญ่พนักงานขายบ้าน จะมีป้ายติดรถไปด้วย ) อย่างนี้ เป้นต้น
หลังจากนั้น ก็คอยสอบถาม ความเคลื่อนไหว ตามความ เหมาะสม เป็นระยะเช่น เป็นไงบ้าง มีคนสนใจเยอะไหม สถานการณ์ เป็นไง ถ้ามันเงียบๆ ไป ก็ตรองดู อีกที ว่า เกิดจากอะไร แพงไปไหม โฆษณาน้อยไปไหมปรับปรุงแก้ไขกันไป ก็จะช่วยได้เยอะ
เทคนิด และ ข้อมูล เหล่า เป็นบางส่วน ของเทคนิคการฝากขายบ้าน เป็นแนวทางส่วนนึง ในการ ทำสัญญาแต่งตั้งตัวแทนขายบ้าน ปรับใช้ไปตามความเหมาะสมนะครับ ขอให้ขายได้ไวๆ ไดราคานะครับ
คำค้น
ฝากขายบ้านกับนายหน้า,
ฝากขายบ้านผ่านนายหน้า,
ฝากขายบ้านผ่านนายหน้าดีไหม,
สัญญาขายบ้าน,
สัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้าขายบ้านที่ดิน,
สัญญาตัวแทนนายหน้าอสังหา,
วิธีฝากขายบ้านกับบริษัทตัวแทนนายหน้า,
สัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า,
วิธีดูสัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า,
ฝากขายบ้านกับนายหน้า,
วิธีฝากขายบ้านกับตัวแทนนายหน้า,
วิธีฝากขายบ้านนายหน้า,
วิธีฝากขายบ้านนายหน้าขายบ้าน,
วิธีทำสัญญาฝากขายบ้าน,
วิะีดูสัญญาแต่งตั้งตัวแทนนายหน้า,
สัญญานายหน้าและตัวแทน